1. อ่านให้ลึก
การ อ่านของเด็ก ๆ มักจะอ่านเยอะ อ่านกว้าง แต่ไม่ลึก
ทำให้ไม่เข้าใจถึงแก่นของเรื่องที่อ่านได้อย่างชัดเจน
ดังนั้นควรปรับเปลี่ยนวิธีการอ่านโดยการทำความเข้าใจกับแก่นของเรื่องที่ อ่าน
มากกว่าที่จะอ่านในปริมาณที่มากและรู้เพียงผิวเผิน
การอ่านหนังสือในแบบเดิมทำให้เกิดอาการเบื่อง่าย
การเปลี่ยนบทเรียนตัวอักษรในหนังสือให้กลายเป็นสื่อใหม่ ๆ เช่น เป็นหนังสือเสียง
ด้วยการอัดเสียงของตัวเองหรือเพื่อนเป็นข้อความตามบทเรียน หรือการทำเป็นแผนที่ความจำ
(Mind Map) เป็นต้น
3. หลีกเลี่ยงเทคโนโลยี
โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ และวิทยุ
เป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในระหว่างการอ่านหนังสือ
หลายคนมักคิดไปเองว่าเราสามารถฟังเพลง ดูโทรทัศน์ คุยโทรศัพท์
หรือนั่งแชทกับเพื่อนไปพร้อม ๆ กับการอ่านหนังสือได้ แต่ความจริงเมื่อเราทำหลาย ๆ
สิ่งพร้อมกัน สมาธิที่ควรมีให้กับการอ่านจะถูกแบ่งไปทำอย่างอื่นด้วย
ทำให้เราเข้าใจสิ่งที่อ่านได้น้อยลง
4. อย่ายุ่งกับ “คาง”
“โชค อิมิเน้นแอร์ เป็นรองก่อนฟันศอกเข้าปลายคาง เอาชนะทีเคโอ
เพชรอัศวิน ซีทรานเฟอร์รี่ ชนิดทีเดียวหลับสนิทไปในยกที่ 4” พาดหัวข่าวเด็ดนี้คงเป็นคำตอบว่า
ทำไมจึงไม่ควรไปยุ่งกับ “คาง” เนื่องจากประสาทสัมผัสบริเวณคางหากมีการ กดทับ
สัมผัส หรือนวด เป็นเวลานาน ๆ จะทำให้ร่างกายรู้สึกง่วง และหากถูกกระแทกแรง ๆ
อาจถึงขั้นสลบแบบนักมวยได้เลยทีเดียว
ดังนั้นเมื่ออ่านหนังสือควรหลีกเลี่ยงการนอนคว่ำ, นั่งเท้าคาง
หรือเอามือนวดบริเวณปลายคาง เพื่อหลีกเลี่ยงการกดทับและการกระตุ้นประสาทสั่งการ “หลับ” ของร่างกายเราเอง
5. ปรับแสงให้เหมาะสม
จากการวิจัยพบว่า ความสว่างและมืดของไฟมีผลถึง 75% ต่อ
การอ่านหนังสือ
ไฟที่สลัวเกินไปจะทำให้รูม่านตาต้องขยายเพิ่มมากขึ้นเพื่อรับแสงและไฟที่
สว่างมากเกินไปทำให้รูม่ายตาหรี่เล็กกว่าปกติ
หรือบางครั้งต้องหยีตาลงเพื่ออ่านหนังสือ 2 ปัจจัยนี้ทำให้กล้ามเนื้อและประสาทตาเกิดอาการล้า
จนไม่สามารถอ่านหนังสือได้นาน มีผลทำให้ง่วง หรือปวดตา
(เนื่องจากสายตาต้องการพักผ่อน) ดังนั้นควรปรับแสง
หรืออ่านหนังสือในห้องที่มีแสงพอเหมาะจะดีที่สุด
6. อุปกรณ์เสริมไม่ต้อง!
อุปกรณ์เสริมในที่นี้หมายถึง ขนมและของกินทุกประเภท
โดยเฉพาะขนมขบเคี้ยวที่มีส่วนประกอบ 70 – 80% เป็นแป้งและโมโนโซเดียมกลูตาเมต
(ผงชูรส) เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะมีการเผาผลาญก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
เมื่อร่างกายรับ
CO2 เข้าไปในปริมาณมาก (จากอากาศที่หายใจและการเผาผลาญที่ไม่สมบูรณ์)
จะก่อให้เกิดอาการง่วงนอนและหลับได้ เปรียบได้กับคำที่ว่า “หนังท้องตึง
หนังตาก็หย่อน”
7. เคล็ดเด็ด เผ็ดพริกขี้หนู
แม้ว่าจะไม่ผ่านการรับรองผลการวิจัยจากมหาวิทยาลัยชื่อดังในต่างประเทศ
แต่พี่นัทยาขอยืนยันกับกลเม็ดแก้ง่วงวิธีนี้ นั่นคือ “เคี้ยวพริก”“รับรองว่าไม่มีอันตราย
ไม่มีผลข้างเคียง
แถมมีประโยชน์ต่อร่างกายเพราะพริกเป็นสมุนไพรไทยอย่างหนึ่งเช่นกัน” พี่นัทยายืนยันหนักแน่น
เพียงปลายพริกเล็ก ๆ 1 คำ พร้อมน้ำอุ่น 1 แก้ว ความเผ็ดร้อนจะกระจายไปทั่วทั้งปาก เปลือกตาที่เคยปรือ
ๆ จะกลับมาสดชื่นดังเดิมแน่นอน
ที่มา : พี่นัทยา เพ็ชรวัฒนา ผู้จัดรายการวิทยุจุฬาฯ (CU
Radio)http://campus.sanook.com
1. อ่านให้ลึก
การ อ่านของเด็ก ๆ มักจะอ่านเยอะ อ่านกว้าง แต่ไม่ลึก
ทำให้ไม่เข้าใจถึงแก่นของเรื่องที่อ่านได้อย่างชัดเจน
ดังนั้นควรปรับเปลี่ยนวิธีการอ่านโดยการทำความเข้าใจกับแก่นของเรื่องที่ อ่าน
มากกว่าที่จะอ่านในปริมาณที่มากและรู้เพียงผิวเผิน
การอ่านหนังสือในแบบเดิมทำให้เกิดอาการเบื่อง่าย
การเปลี่ยนบทเรียนตัวอักษรในหนังสือให้กลายเป็นสื่อใหม่ ๆ เช่น เป็นหนังสือเสียง
ด้วยการอัดเสียงของตัวเองหรือเพื่อนเป็นข้อความตามบทเรียน หรือการทำเป็นแผนที่ความจำ
(Mind Map) เป็นต้น
3. หลีกเลี่ยงเทคโนโลยี
โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ และวิทยุ
เป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในระหว่างการอ่านหนังสือ
หลายคนมักคิดไปเองว่าเราสามารถฟังเพลง ดูโทรทัศน์ คุยโทรศัพท์
หรือนั่งแชทกับเพื่อนไปพร้อม ๆ กับการอ่านหนังสือได้ แต่ความจริงเมื่อเราทำหลาย ๆ
สิ่งพร้อมกัน สมาธิที่ควรมีให้กับการอ่านจะถูกแบ่งไปทำอย่างอื่นด้วย
ทำให้เราเข้าใจสิ่งที่อ่านได้น้อยลง
4. อย่ายุ่งกับ “คาง”
“โชค อิมิเน้นแอร์ เป็นรองก่อนฟันศอกเข้าปลายคาง เอาชนะทีเคโอ
เพชรอัศวิน ซีทรานเฟอร์รี่ ชนิดทีเดียวหลับสนิทไปในยกที่ 4” พาดหัวข่าวเด็ดนี้คงเป็นคำตอบว่า
ทำไมจึงไม่ควรไปยุ่งกับ “คาง” เนื่องจากประสาทสัมผัสบริเวณคางหากมีการ กดทับ
สัมผัส หรือนวด เป็นเวลานาน ๆ จะทำให้ร่างกายรู้สึกง่วง และหากถูกกระแทกแรง ๆ
อาจถึงขั้นสลบแบบนักมวยได้เลยทีเดียว
ดังนั้นเมื่ออ่านหนังสือควรหลีกเลี่ยงการนอนคว่ำ, นั่งเท้าคาง
หรือเอามือนวดบริเวณปลายคาง เพื่อหลีกเลี่ยงการกดทับและการกระตุ้นประสาทสั่งการ “หลับ” ของร่างกายเราเอง
5. ปรับแสงให้เหมาะสม
จากการวิจัยพบว่า ความสว่างและมืดของไฟมีผลถึง 75% ต่อ
การอ่านหนังสือ
ไฟที่สลัวเกินไปจะทำให้รูม่านตาต้องขยายเพิ่มมากขึ้นเพื่อรับแสงและไฟที่
สว่างมากเกินไปทำให้รูม่ายตาหรี่เล็กกว่าปกติ
หรือบางครั้งต้องหยีตาลงเพื่ออ่านหนังสือ 2 ปัจจัยนี้ทำให้กล้ามเนื้อและประสาทตาเกิดอาการล้า
จนไม่สามารถอ่านหนังสือได้นาน มีผลทำให้ง่วง หรือปวดตา
(เนื่องจากสายตาต้องการพักผ่อน) ดังนั้นควรปรับแสง
หรืออ่านหนังสือในห้องที่มีแสงพอเหมาะจะดีที่สุด
6. อุปกรณ์เสริมไม่ต้อง!
อุปกรณ์เสริมในที่นี้หมายถึง ขนมและของกินทุกประเภท
โดยเฉพาะขนมขบเคี้ยวที่มีส่วนประกอบ 70 – 80% เป็นแป้งและโมโนโซเดียมกลูตาเมต
(ผงชูรส) เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะมีการเผาผลาญก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
เมื่อร่างกายรับ
CO2 เข้าไปในปริมาณมาก (จากอากาศที่หายใจและการเผาผลาญที่ไม่สมบูรณ์)
จะก่อให้เกิดอาการง่วงนอนและหลับได้ เปรียบได้กับคำที่ว่า “หนังท้องตึง
หนังตาก็หย่อน”
7. เคล็ดเด็ด เผ็ดพริกขี้หนู
แม้ว่าจะไม่ผ่านการรับรองผลการวิจัยจากมหาวิทยาลัยชื่อดังในต่างประเทศ
แต่พี่นัทยาขอยืนยันกับกลเม็ดแก้ง่วงวิธีนี้ นั่นคือ “เคี้ยวพริก”“รับรองว่าไม่มีอันตราย
ไม่มีผลข้างเคียง
แถมมีประโยชน์ต่อร่างกายเพราะพริกเป็นสมุนไพรไทยอย่างหนึ่งเช่นกัน” พี่นัทยายืนยันหนักแน่น
เพียงปลายพริกเล็ก ๆ 1 คำ พร้อมน้ำอุ่น 1 แก้ว ความเผ็ดร้อนจะกระจายไปทั่วทั้งปาก เปลือกตาที่เคยปรือ
ๆ จะกลับมาสดชื่นดังเดิมแน่นอน
ที่มา : พี่นัทยา เพ็ชรวัฒนา ผู้จัดรายการวิทยุจุฬาฯ (CU
Radio)http://campus.sanook.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น